qm9696.com

ครู รักษ์ ถิ่น ราชภัฏ เชียงใหม่

ในโครงการอื่น ๆ เช่น โครงการ TSQP กว่า 700 โรงเรียน ครูรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหาจักรี 700 โรงเรียน และ เครือข่ายอีก 11 ประเทศ อย่างไรก็ตาม ครูถือว่ามีความสำคัญในการศึกษาอย่างมากและนับเป็นตัวคูณที่สำคัญ เพราะครูคนหนึ่งสามารถสอนหนังสือเด็กได้หลายพันคน การเปลี่ยนแปลงจึงต้องเริ่มที่ครู นอกจากนี้ อยากเน้นย้ำว่าทุนที่ใช้ในโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น เป็นเงินภาษีของประชาชน อยากให้ช่วยเน้นย้ำกับนักศึกษาที่ได้รับทุนว่าเงินทุกบากทุกสตางค์มาจากภาษีของประชาชน การใช้จ่ายต้องระมัดระวังและรู้คุณค่า ขณะที่ ศาสตราจารย์ นพ. วิจารณ์ พานิช ที่ปรึกษากองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ. )

กสศ. จับมือ 7 สถาบันอุดมศึกษา เดินหน้าโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น รุ่นที่ 3 - ข่าวสด

  • แอ พ sleep cycle pantip 2017
  • ลํา เนา อยู่ บํา รุ ง คอร์ด
  • ปวดหัวเหมือนมีเข็มมาแทง - Pantip
  • หวย คน อุตรดิตถ์ 17 1 62
  • คอน โด พัทยา ราคา ไม่ ถึง ล้าน
  • บ้าน เช่า พัทยา ใต้ ราคา ถูก
  • Www.Solar-Thailand.com จำหน่ายปลีกส่ง อุปกรณ์ไฟฟ้า ระบบโซลาร์เซลล์ โซล่า
  • เดอะ เฟส เมน 2 ep 9 line tv app
  • Go go squid พาก ไทย watch

กสศ. ลงนามความร่วมมือกับ 7 สถาบันอุดมศึกษา เดินหน้าโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น รุ่นที่ 3 สร้างต้นแบบสถาบันผลิตครูคุณภาพรุ่นใหม่หัวใจรัก(ษ์)ถิ่น เกาะติดข่าว กดติดตาม ข่าวสด กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ. ) พร้อมสถาบันอุดมศึกษา 7 สถาบัน ได้แก่ มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต และ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา ร่วมลงนามความร่วมมือเป็นสถาบันผลิตและพัฒนาครูในโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น ปีการศึกษา 2565 และร่วมรับฟังการชี้แจงถึงกระบวนทัศน์การผลิตครูเพื่อพัฒนาชุมชน และแนวทางการทำงานเพื่อเป็นสถาบันผลิตและพัฒนาครู ผ่านระบบออนไลน์ รศ. ดร. ดารณี อุทัยรัตนกิจ ประธานอนุกรรมการกำกับทิศทางโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น กล่าวว่า กสศ.

ตาราง สอบ cpa 3 2561

ไก่ ทอด เฟ รน ฟ ราย

ดารณี กล่าว รศ. ดารณี กล่าวต่อว่า รวมทั้งครูจะต้องเป็นครูของชุมชนที่มีการเรียนรู้ตลอดเวลา สถาบันการศึกษาต้องปรับเปลี่ยนกระบวนการให้นักศึกษามีสมรรถนะออกแบบการเรียนรู้ผสมผสานเทคโนโลยีเข้ากับบริบทพื้นที่ ชุมชน ทรัพยากร โดยต้องลงไปวิเคราะห์ศักยภาพ ครอบครัว ชุมชน ให้ทุกส่วนที่เกี่ยวข้องเข้ามามีบทบาทการจัดการเรียนรู้ ร่วมกัน ท่ามกลางความท้าทายหลายประการเราเชื่อมั่นว่าสถาบันการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการนี้จะผลิตและพัฒนาครูหัวใจเดียวกันที่จะดึงศักยภาพให้นักศึกษาจบมาเป็นครูที่ดี มีความสร้างสรรค์ มุ่งมั่นของชุมชน ด้าน ดร. อุดม วงษ์สิงห์ ผู้อำนวยการสำนักพัฒนาคุณภาพครู นักศึกษาครูและสถานศึกษา กสศ. กล่าวว่า โครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น เริ่มต้นมาตั้งแต่ปี 2563 โดยมีที่มาจากโรงเรียนขนาดเล็กในพื้นที่ห่างไกลซึ่งจำเป็นต้องคงอยู่เพื่อโอกาสทางการศึกษาเด็กท้องถิ่นไม่สามารถยุบควบรวมได้ จึงจำเป็นต้องมีการพัฒนาคุณภาพครูควบคู่ไปกับการแก้ปัญหาครูโยกย้ายบ่อยจึงคิดวิธีให้คนในท้องถิ่นมาเรียนเป็นครูเพื่อกลับไปทำงานในบ้านเกิดตัวเอง ลดปัญหาการย้ายออกและขาดแคลนในอนาคต ดร. อุดม กล่าวต่อว่า ซึ่งมี 3 องค์ประกอบที่สำคัญ คือ 1. การให้โอกาสเด็กยากจนในพื้นที่ห่างไกลได้เรียน รวม 5 รุ่น 1, 500 คน เพื่อไปบรรจุเป็นครูใน 1, 500 โรงเรียน 2.

สถาบันการศึกษาที่เข้าร่วมโครงการเพื่อผลิตครูให้เป็นบัณฑิตและนักพัฒนาชุมชนรวมไปถึงการพัฒนาหลักสูตรเพื่อเป็นต้นแบบพัฒนาครูต่อไป และ 3. โรงเรียนปลายทางซึ่งจะต้องร่วมมือกับสถาบันอุดมศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพตามบริบบทของชุมชน ทั้งนี้ จากการดำเนินการที่ผ่านมา 2 รุ่น มีนักศึกษาครูรัก(ษ์)ถิ่น 627 คน และ รุ่นที่ 3 จะได้เพิ่มขึ้นอีก 240 คน ดังนั้น การร่วมลงนามความร่วมมือกับ 7 สถาบันในครั้งนี้จึงมีความสำคัญมากที่จะนำไปสู่กระบวนการคัดเลือกที่เป็นต้นทางสำคัญ ปัจจุบันโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่นเดินหน้ามาสู่รุ่นที่ 3 เปรียบเหมือนเดินทางมาถึงกลางทางของต้นน้ำ คือการคัดเลือกสถาบันคุณภาพมาร่วมโครงการ ดำเนินการคัดเลือกน้อง ๆ ที่มีใจอยากเป็นครูเข้ามาเรียนและจบไปบรรจุเป็นครูที่โรงเรียน ดร. กฤษณพงศ์ กีรติกร ที่ปรึกษากองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา (กสศ. ) กล่าวว่า อยากเห็นการพูดคุยของผู้บริหารสถาบันการศึกษา เพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์บ่อยๆ เพราะโครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น เป็นโครงการระยะยาวประมาณ 11 ปี ต้องอาศัยความต่อเนื่องระดับนโยบายและความต่อเนื่องของข้อมูล นอกจากนี้ จากการทำงานของกสศ. โครงการครูรัก(ษ์)ถิ่น สามารถเชื่อมโยงข้อมูลและการทำงานของ กสศ.